คดีภาษีอากร

คดีภาษีอากร

การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาลภาษีอากรกลางตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528,
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 และข้อกำหนดคดีภาษีอากร พ.ศ. 2544
-คดีอุทธรณ์คำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานหรือคณะกรรมการตามกฏหมายเกี่ยวกับภาษีอากร (ถ้ามีกฎหมายกำหนดให้คัดค้านหรืออุทธรณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานหรือคณะกรรมการต้อง ดำเนินการดังกล่าวก่อนจึงจะฟ้องคดีได้-ม.8)
-คดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิเรียกร้องของรัฐบาลในหนี้ค่าภาษีอากร
-คดีพิพาทเกี่ยวกับการขอคืนค่าภาษีอากร (ถ้ามีการกำหนดให้ขอคืนค่าภาษีอากรก็ต้องดำเนินการตามวิธีการที่กำหนดไว้ก่อนจึงจะฟ้องคดีได้-ม.9)
-คดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตามข้อผูกพันซึ่งได้ทำขึ้นเพื่อประโยชน์แก่การจัดเก็บภาษีอากร
-คดีที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจศาลภาษีอากร (ปัจจุบันยังไม่มี)ศาลภาษีอากรกลางศาลภาษีอากรจังหวัด(ยังไม่ได้จัดตั้ง) อำนาจพิจารณาพิพากษาเฉพาะคดีแพ่ง ม.7 ห้ามศาลชั้นต้นอื่นรับคดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาของศาลภาษีอากรกลางไว้พิจารณาพิพากษา
-ม. 10ประธานศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษเป็นผู้วินิจฉัยว่าคดีได้อยู่ในอ านาจของศาลภาษีอากรหรือศาลยุติธรรมอื่นคำวินิจฉัยนั้นเป็นที่สิ้นสุด ถ้าคำวินิจฉัยนั้นจะต้องเปลี่ยนแปลงศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาให้ศาลนั้นโอนคดีไปยังศาลดังกล่าว เว้นแต่ศาลที่รับโอนจะมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น-ม. 10ว2 (ม.5 ฉ2)

แชร์ข้อมูลได้ที่นี่
Share on Facebook
Facebook
0Pin on Pinterest
Pinterest
0Tweet about this on Twitter
Twitter
Share on LinkedIn
Linkedin

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า