คดีแพ่ง คือ คดี หรือข้อพิพาทที่มีข้อขัดแย้ง หรือข้อโต้แย้ง หรือกล่าวหากันเกี่ยวกับสิทธิ หรือหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมายแพ่ง โดยเป็นการกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่ทำให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญ ก่อความเสียหาย หรือละเมิดต่อสิทธิที่มีอยู่ตามกฎหมายของบุคคลอื่น และไม่สามารถตกลงกันได้ เป็นคดีที่มีข้อขัดแย้งซึ่งผู้ได้รับความเสียหายฟ้องบุคคลอื่นที่เป็นเหตุแห่งข้อขัดแย้งเป็นจำเลย ซึ่งศาลจะนัดชี้สองสถานกำหนดประเด็นข้อพิพาท สืบพยาน และมีคำพิพากษา เรียกว่า “คดีมีข้อพิพาท” อย่างหนึ่ง ( เช่น ละเมิดต่อสิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในชีวิต ร่างกาย สิทธิในครอบครัว สิทธิในเกียรติยศ ชื่อเสียง
คดีแพ่ง คือ คดี หรือข้อพิพาทที่มีข้อขัดแย้ง หรือข้อโต้แย้ง หรือกล่าวหากันเกี่ยวกับสิทธิ หรือหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมายแพ่ง โดยเป็นการกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่ทำให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญ ก่อความเสียหาย หรือละเมิดต่อสิทธิที่มีอยู่ตามกฎหมายของบุคคลอื่น และไม่สามารถตกลงกันได้ เป็นคดีที่มีข้อขัดแย้งซึ่งผู้ได้รับความเสียหายฟ้องบุคคลอื่นที่เป็นเหตุแห่งข้อขัดแย้งเป็นจำเลย ซึ่งศาลจะนัดชี้สองสถานกำหนดประเด็นข้อพิพาท สืบพยาน และมีคำพิพากษา เรียกว่า “คดีมีข้อพิพาท” อย่างหนึ่ง ( เช่น ละเมิดต่อสิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในชีวิต ร่างกาย สิทธิในครอบครัว สิทธิในเกียรติยศ ชื่อเสียง
หากมมีคำสั่งศาลแล้วไม่อาจจะกระทำได้ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้เสนอเรื่องราวหรือยื่นฟ้องโดยทำเป็นคำร้อง ผู้นั้นเพียงแต่ยื่นคำร้องต่อศาลแสดงเหตุผลแห่งความจำเป็น และความต้องการ โดยศาลจะนัดไต่สวนคำร้องของผู้ร้อง และมีคำสั่ง เรียกว่า “คดีไม่มีข้อพิพาท” หรือ “คดีฝ่ายเดียว” อีกอย่างหนึ่ง (เช่น การขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย การขอให้ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ การขอให้ศาลแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์ เป็นต้น) และหากการเสนอคำร้องนั้น ไปกระทบสิทธิหรือโต้แย้งสิทธิของบุคคลอื่น บุคคลที่ถูกกระทบ หรือ ถูกโต้แย้งสิทธินั้นอาจโต้แย้ง คัดค้านคำร้องเข้ามาเป็นคู่ความในคดี มีผลทำให้คดีไม่มีข้อพิพาทนี้ กลายเป็นคดีที่มีข้อพิพาททันที เช่น
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
–คดีเกี่ยวกับการมรดก
–คดีเกี่ยวกับครอบครัว
–คดีเกี่ยวกับสัญญา
–คดีเกี่ยวกับที่ดิน
–ห้างหุ้นส่วน/บริษัท
–คดีแรงงาน
–คดีล้มละลาย
–คดีภาษีอากร